อาหารกรด-อาหารด่าง
จากบทความที่แล้ว สร้าง สมดุลกรด-ด่าง เพื่อสุขภาพ ทำให้เข้าใจว่าทำไมต้องรักษาสมดุลกรด-ด่าง และหนึ่งในปัจจัยในการรักษาสมดุลกรด-ด่างก็คือ อาหาร บทความนี้เรามารู้จักกับ อาหารกรด และ อาหารด่าง ว่ามีอะไรบ้าง
อาหารกรด-อาหารด่าง เรียงตาม PRAL Score
PRAL ย่อมาจาก (potential renal acid load) โดยปกติทางการแพทย์จะใช้ค่านี้ เพื่อวัดศักยภาพของสารใดสารหนึ่ง ที่เมื่อผ่านไตแล้ว จะให้ค่าความเป็นกรดมากน้อยแค่ไหน
ในที่นี้จะนำค่า PRAL มาวัดศักยภาพ ของอาหารแต่ละชนิด ที่เมื่อร่างกายย่อย และผ่านมาถึงไตแล้ว จะให้กรดหรือด่างมากน้อยแค่ไหน
โดยมีการให้ระดับคะแนนที่เรียกว่า PRAL Score โดย…
PRAL + แสดงความเป็นกรด และ PRAL – แสดงความเป็นด่าง ดังนี้
เนื้อสัตว์ | PRAL Score |
เนื้อปลา | 6.8-10.8 |
เนื้อไก่ | 8.7 |
เนื้อหมู | 7.9 |
เนื้อวัว | 7.8 |
นม ไข่ | PRAL Score |
Parmesan Cheese | 34.2 |
Processed Cheese | 28.7 |
ชีส low fat Cheddar | 26.4 |
ชีสแข็ง | 19.2 |
Gouda Cheese | 18.6 |
คอทเทจชีส | 8.7 |
ไข่แดง | 23.4 |
ไข่ทั้งฟอง | 8.2 |
ไข่ขาว | 1.1 |
โยเกิร์ตรสธรรมชาติ | 1.5 |
โยเกิร์ตรสผลไม้ | 1.2 |
นมวัว | 1.1 |
นมวัวพาสเจอร์ไรส์ | 0.7 |
ไอศครีม | 0.6 |
น้ำตาล | PRAL Score |
ช็อคโกแลตนม | 2.4 |
เค้ก | 3.7 |
น้ำตาลขาว | -0.1 |
น้ำผึ้ง | -0.3 |
แยม | -1.5 |
ผัก | PRAL Score |
หน่อไม้ฝรั่ง | -0.4 |
แตงกวา | -0.8 |
บล็อคโคลี่ | -1.2 |
พริกไทย | -1.4 |
เห็ด | -1.4 |
หัวหอม | -1.5 |
กระเทียม | -1.8 |
ผักกาดหอม | -2.5 |
ซูกินี่ (แตงกวาญี่ปุ่น) | -2.6 |
น้ำมะเขือเทศ | -2.8 |
มะเขือเทศ | -3.1 |
ถั่วแขก | -3.1 |
มะเขือยาว | -3.4 |
หัวไชเท้า | -3.7 |
มันฝรั่ง | -4.0 |
ดอกกระหล่ำ | -4.0 |
แครอท | -4.9 |
เซเลอรี่ | -5.2 |
ผักขม | -14.0 |
ผลไม้,น้ำผลไม้ และถั่ว | PRAL Score |
ถั่วลิสง | 8.3 |
วอลนัท | 6.8 |
ถั่วเลนทิล | 3.5 |
ถั่วลันเตา | 1.2 |
น้ำองุ่น | -1.0 |
แตงโม | -1.9 |
น้ำแอ๊ปเปิ้ล | -2.2 |
แอ๊ปเปิ้ล | -2.2 |
ลูกพีช | -2.4 |
น้ำมะนาว | -2.5 |
ส้ม | -2.7 |
สัปปะรด | -2.7 |
เฮเซลนัท | -2.8 |
น้ำส้ม | -2.9 |
ลูกแพร | -2.9 |
เชอร์รี่ | -3.6 |
ลูกกีวี่ | -4.1 |
แอ๊พพริคอท | -4.8 |
กล้วยหอม | -5.5 |
แบล็คเคอร์แรนท์ | -6.5 |
ลูกเกด | -21.0 |
แป้ง | PRAL Score |
ข้าวกล้อง | 12.5 |
ข้าวโอ๊ต | 10.7 |
แป้งสาลี | 8.2 |
สปาเก็ตตี้โฮลเกรน | 7.3 |
สปาเก็ตตี้ขาว | 6.5 |
บะหมีเหลือง | 6.4 |
คอนเฟล็ก | 6.0 |
ขนมปังโฮลวีท ผสมเมล็ดธัญพืช |
3.8 |
ขนมปังขาว | 3.7 |
ขนมปังโฮลวีท | 1.8 |
ไขมัน | PRAL Score |
เนย | 0.6 |
น้ำมันมะกอก | 0 |
น้ำมันดอกทานตะวัน | 0 |
มาการีน | -0.5 |
เครื่องดื่ม | PRAL Score |
Pale Beer | 0.9 |
น้ำอัดลม | 0.4 |
Stout Beer | -0.1 |
เบียร์สด | -0.2 |
ชา | -0.3 |
โกโก้ | -0.4 |
ไวน์ขาว | -1.2 |
กาแฟ | -1.4 |
น้ำแร่ | -1.8 |
ไวน์แดง | -2.4 |
ข้อมูลจาก acidalkalinediet.net
อาหารกรด-อาหารด่าง เรียงตามความเข้ม
ประเภท | กรดสูง | กรดกลาง | กรดต่ำ |
ถั่ว, ผัก |
ผักดอง | ถั่วขาว, ถั่วพินโต้ |
ถั่วแดง มันหวาน ผักขมต้ม |
เครื่องดื่ม | เบียร์, ชาดำ, กาแฟ, สุรา |
โซดา, ไวน์ |
โกโก้ |
ซีเรียล, ธัญพืช |
บิสกิต, พาสต้า , ขนมปังขาว, ข้าวขาว |
ข้าวกล้อง, ข้าวโอ๊ต, ขนมปังไรน์, ขนมปังโฮลเกรน |
|
นม,ไข่ | ชีสแปรรูป | ไข่, ชีสแข็ง |
เนยเหลว, คอทเทจชีส, ครีม, ไอศครีม,นมวัว, โยเกิร์ต |
ผลไม้ | ผลไม้กระป๋อง | กล้วยหอมดิบ, บลูเบอร์รี่สด, แครนเบอร์รี่สด, ลูกพลัม, น้ำผลไม้แปรรูป |
|
เนื้อสัตว์ | เนื้อวัว, ทูน่ากระป๋อง, เนื้อหมู, ปลาซาดีน, หอย, เนื้อลูกวัว |
ไก่,ปลา,แกะ | ตับ,เครื่องใน, หอยนางรม |
ถั่ว เคี้ยวเล่น |
ถั่วลิสง, วอลนัท |
เม็ดมะม่วงหิมพานต์, พีแคน, พิสทาชิโอ |
เมล็ดฟักทอง,งา, เมล็ดทานตะวัน |
น้ำมัน | น้ำมันข้าวโพด, น้ำมันหมู,มาการีน, น้ำมันดอกทานตะวัน |
||
น้ำตาล | สารให้ความหวาน | น้ำตาลไม่ขัดสี, แยม,น้ำอ้อย, ซอสมะเขือเทศ, มายองเนส, ช็อคโกแลตนม, มัสตาด, น้ำส้มสายชู |
น้ำผึ้งแปรรูป, น้ำตาลทรายขาว |
ประเภท | ด่างต่ำ | ด่างกลาง | ด่างสูง |
ถั่ว,ผัก | แตง หน่อไม้ฝรั่ง บีทรูท, กะหล่ำปลี, ดอกกะหล่ำ, เมล็ดข้าวโพด, มะกอก,เห็ด, หัวหอม, ถั่วลันเตา, มันฝรั่ง, ถั่วเหลือง,เต้าหู้, หัวผักกาด |
หัวบีท, แครอท, ถั่วแขก, ซูกินี่, ผักกาดหอม, ถั่วลิมา |
ต้นอ่อนข้าว บาร์เล่ย์, บล็อคโคลี่, เซเลอรี่, กระเทียม ผักขมสด, น้ำผัก |
เครื่องดื่ม | ชาขิง | ชาเขียว | ชาสมุนไพร, น้ำมะนาว |
ซีเรียล, ธัญพืช |
ดอกบานไม่รู้โรย, บัควีท, เลนทิล,ลูกเดือย, ควินัว, ข้าวโพดหวาน, wild rice |
||
นม,ไข่ | นมแพะ, ชีสนมแพะ, ชีสนมถั่วเหลือง, นมถั่วเหลือง, หางนม |
นมแม่ | |
ผลไม้ | อโวกาโด, เชอร์รี่,มะพร้าว, เกรปฟรุ๊ต, มะนาว,มะม่วง, ส้ม,มะละกอ,พีช, สัปปะรด,แตงโม, เชอร์รี่เปรี้ยว, สตรอเบอร์รี่, มะเขือเทศ |
แอ๊ปเปิ้ล, เบอร์รี่, แบล็ค เคอร์เรนท์, อินทผลัม, องุ่น,กี่วี่, มะละกอ, ลูกแพร |
ลูกฟิกซ์แห้ง, ลูกเกด |
ถั่วเคี้ยวเล่น | ถั่วบลาซิล,เชส, เกาลัด,มะพร้าว |
อัลมอนด์, เฮเซลนัท |
|
น้ำมัน | น้ำมันเมล็ดแฟล็กซ์, น้ำมันคาโนล่า, น้ำมันมะกอก |
||
น้ำตาล | น้ำผึ้งธรรมชาติ, น้ำตาลอ้อย |
เมเปิ้ลไซรัป, rice syrup |
หญ้าหวาน |
อาหารกรด-อาหารด่าง เรียงตามค่าpH
ค่า pH หลังการย่อย |
อาหาร |
ด่างสูง pH 9.0 |
มะนาว,แตงโม |
ด่างสูง pH 8.5 |
วุ้น ,แคนตาลูป,พริกป่น, อินทผลัมแห้ง,ลูกฟิกซ์แห้ง, สาหร่ายเคลป์,มะนาว,มะม่วง, เมล่อน,มะละกอ,พาสลี่, เมล็ดองุ่น,วอเตอร์เครส, สาหร่ายทะเล,หน่อไม้ฝรั่ง, กีวี่,แพสชั่นฟรุ้ต,ลูกแพร, สัปปะรด,ลูกเกด,น้ำผัก |
ด่างกลาง pH 8.0 |
แอ๊ปเปิ้ลหวาน,แอปพริคอท, หัวเท้ายายม่อม(arrowroot), อโวกาโด,กล้วยหอมสุก,เบอร์รี่, แครอท,เซเลอรี่,กระเทียม, สตรอเบอร์รี่,เกรปฟรุ้ต,ฝรั่ง, พืชสมุนไพรใบเขียว,ผักขม, ผักกาดหอมใบเขียว,พีชหวาน, ถั่วลันเตาสด,ฟักทอง,เกลือสมุทร |
ด่างกลาง pH 7.5 |
แอ๊ปเปิ้ลเปรี้ยว,ราสเบอร์รี่, ข้าวโพดหวาน,ละมุด,หัวบีท, ถั่วที่เป็นฝักสดสีเขียว,พริกหยวก, บล็อคโคลี่,กะหล่ำปลี,ดอกกะหล่ำ, ขิงสด,คะน้า,แตง |
ด่างอ่อน pH 7.25-7.0 |
อัลมอนด์,เชอร์รี่,เนื้อมะพร้าวสด,แตงกวา,มะเขือยาว, น้ำผึ้งสด,ต้นกระเทียม,เห็ด, กระเจี้ยบเขียว,หัวไชเท้า, เกลือสมุทร,พริก,มะเขือเทศหวาน,เกาลัด,ไข่แดงไม่สุก, นมแพะ,มายองเนส,น้ำมันมะกอก, งา,ถั่วเหลือง,ชีสจากถั่วเหลือง, นมถั่วเหลือง,เต้าหู้,ยีส |
เป็นกลาง pH 7.25-6.75 |
โยเกิร์ต,เมล็ดฟักทอง,เนยเหลวจืด,มะพร้าวสด,มิโซะ,นมวัว, ชาเขียว,ถั่วลิมา,เผือก,ถั่วควินัว, กะหล่ำปลีดอง,นมแพะ,รำข้าว, ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง,พิสทาชิโอ, เมล็ดทานตะวัน,ลูกพลัม,น้ำผึ้ง, มันฝรั่งรวมเปลือก,ไข่ไก่,ไข่เป็ด, ถั่วเคี้ยวเล่นต่างๆ,เมล็ดแฟล็ก, ลูกพลัม,ลูกพรุน,ชาสมุนไพร, เม็ดมะม่วงหิมพานต์,ถั่วเลนทิล, แมคาดีเมีย,มาการีน,วอลทนัท, น้ำมัน(ยกเว้นน้ำมันมะกอก), ไข่นกกระทา,พิสทาชิโอ, ข้าวไรน์,บลูเบอร์รี่ |
กรดอ่อน pH 6.5 |
กล้วยดิบ,บัควีท,ไข่สุกมาก, ซอสมะเขือเทศ,มายองเนส, ข้าวโอ๊ต,ถั่วลิสง,มันฝรั่งปอกเปลือก,ป๊อปคอร์น, ขนมปัง,ข้าวกล้อง,ซีอิ๊ว |
กรดกลาง pH 6.0 |
ปลา,ไวน์,โยเกิร์ตรสหวาน, น้ำผลไม้ผสมน้ำตาล,ขนมปังขาว, ข้าวโอ๊ต,ข้าวขาว,หอย, คอร์นเฟล็ก,จมูกข้าว, ผลิตภัณฑ์โฮลวีท |
กรดสูง pH 5.5 |
เนื้อวัว,น้ำอัดลม,โซดา,บุหรี่, แป้งทำขนม,เนื้อแพะ,เนื้อแกะ, เกลือสินเธาว์, ข้าวขาว,น้ำตาลทรายขาว,เบียร์,น้ำตาลแดง,เนื้อไก่, ช็อคโกแลต,กาแฟ,คัสตาร์ด, แยม,เยลลี่,ชาดำ,ขนมปัง |
กรดสูงมาก pH 5.0 |
สารให้ความหวานแทนน้ำตาล |
ข้อมูลจาก drjeffhealthcenter.com
หมายเหตุ ;
- อาหารกรด – อาหารด่าง ในที่นี้หมายถึง อาหารที่เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้ว ให้ผลผลิตต่อร่างกายเป็นกรดหรือด่าง
- เพราะอาหารบางอย่าง ที่เมื่ออยู่ภายนอกร่างกาย อาจมีคุณสมบัติเป็นกรด แต่เมื่อเข้าสู่ร่างกายถูกย่อยแล้ว กลับให้ความเป็นด่างต่อร่างกาย
- ดังนั้นตาราง อาหารกรด-อาหารด่าง ข้างต้น จึงหมายถึง อาหารที่เมื่อถูกย่อยแล้ว
กลับหน้าแรก ezygodiet.com
มีวิธีการตรวจอย่างไรครับที่อ้างว่าอาหารเมื่อเข้าสู่ร่างกายจะเป็นกรดหรือด่าง น้ำมะนาวเป็นกรดแน่ๆ ทำอย่างไรจึงกลายไปเป็นด่างได้ ไม่ใช่ดูจากบัฟเฟอร์ที่ร่างกายมีอยู่แล้วนะครับ และคงไม่ใช่จากการเอาเปลือกไปเผาด้วย เพราะเราไม่ได้กินเปลือกมะนาว
Hi
แล้ว……..น้ำนมข้าวเป็นกรดหรือด่างคะ
ที่ว่ากินเนื้อสัตว์เช่นเนื้อวัวไม่ดีต่อร่างกสบคนที่เป็นโรคมะเร็ง จริงหรือเปล่าคะ?(อยู่ในระหว่างการให้คีโมด้วยค่ะ)