คำนวน ดัชนีมวลกาย

คำนวน ดัชนีมวลกาย

ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index ; BMI) เป็นค่าที่ใช้คัดกรองเบื้องต้น อย่างง่ายๆ ว่าเราน้ำหนักเกินหรือไม่ และเกินมากน้อยแค่ไหน อ้วนไปหรือยัง เข้าขั้นเสี่ยงมั้ย

แต่ใช้ได้เฉพาะกับคนทั่วไปนะ อย่าไปใช้กับนักกล้าม เพราะพวกเขามีน้ำหนักกล้ามเนื้อเยอะ ดัชนีมวลกายก็จะสูงกว่ามาตรฐาณอยู่แล้ว แล้วก็ไม่ต้องคำนวณค่ะ ดูก็รู้แล้วว่าไม่อ้วน

ดัชนีมวลกายคืออะไร


 

คำนวณ ดัชนีมวลกาย ด้วยตัวเองจากสูตร

ดัชนีมวลกาย = น้ำหนัก / (ส่วนสูงหน่วยเป็นเมตร x ส่วนสูงหน่วยเป็นเมตร)

สูตร

BMI = Kg / m2

BMI = กิโลกรัม / เมตร2


 

คำนวณ ดัชนีมวลกาย ด้วยโปรแกรมคำนวณ

[calc id=1489]

หมายเหตุ : ให้เลือก metric = yes

metric คือ หน่วยวัดเป็นเซนติเมตร , กิโลกรัม


 

คำนวณ ดัชนีมวลกาย โดยเทียบจาก Chart

วิธีคำนวณBMI ด้วยchart
วิธีคำนวณBMI ด้วยchart (ดูรูปขนาดเต็ม)

คำนวณ ดัชนีมวลกาย โดยเทียบจากรูป

วิธีคำนวณBMI ด้วยรูป
วิธีคำนวณBMI ด้วยรูป

 

หน่วยของ ดัชนีมวลกาย

กก./ม2


คำนวณ ดัชนีมวลกาย

ค่าปกติ ดัชนีมวลกาย 1

BMI
มาตรฐานสากล

(ยุโรป)

BMI
มาตรฐานอาเซียน

(เอเชีย)

การแปรผล

< 18.5 < 18.5 น้ำหนักน้อย
กว่ามาตรฐาน
18.5-24.9 18.5-22.9 ปกติ
25-29.9 23-24.9 อ้วนระดับ 1
30-34.9 25-29.9 อ้วนระดับ 2
35-39.9 มากกว่า
หรือเท่ากับ 30
อ้วนระดับ 3
มากกว่า
หรือ เท่ากับ 40
อ้วนระดับ 4

ค่าปกติ ดัชนีมวลกาย 2

ภาวะโภชนาการ ดัชนีมวลกาย
ผอมระดับ 3
16 – 16.9
ผอมระดับ 2
17 – 18.4
ผอมระดับ 1
18.5 – 19.9
ปกติ 18.5 – 24.9
อ้วนระดับ 1 25 – 29.9
อ้วนระดับ 2
30 – 39.9
อ้วนระดับ 3
> 40

 

ค่าปกติ ดัชนีมวลกาย ของ WHO 3 

การจำแนก3 ค่าBMI (kg/m2)
ภาวะน้ำหนักน้อยระดับรุนแรงมาก < 15
ภาวะน้ำหนักน้อยระดับรุนแรง 15 – 16
ภาวะน้ำหนักน้อย 16 – 18.5
ปกติ 18.5 – 25
ภาวะน้ำหนักเกิน 25 – 30
โรคอ้วนระดับกลาง 30 – 35
โรคอ้วนระดับรุนแรง 35 – 40
โรคอ้วนระดับรุนแรงมาก >40

 

ค่าปกติ ดัชนีมวลกาย ของฮ่องกง 3 

การจำแนก ค่าBMI (kg/m2)
น้ำหนักน้อย < 18.5
ปกติ 18.5 – 22.9
น้ำหนักเกิน – เข้าขั้นเสี่ยง 23 – 24.9
น้ำหนักเกิน – โรคอ้วนระดับกลาง 25 – 29.9
น้ำหนักเกิน – โรคอ้วนระดับรุนแรง >29.9

ค่าปกติ ดัชนีมวลกาย ของญี่ปุ่น  

การจำแนก ค่าBMI (kg/m2)
น้ำหนักน้อย <18.5
ปกติ 18.5 – 25
โรคอ้วนระดับ1 25 – 30
โรคอ้วนระดับ2 30 – 35
โรคอ้วนระดับ3 35 – 40
โรคอ้วนระดับ4 >40

 

ค่าปกติ ดัชนีมวลกาย ของสิงคโปร์ 3

การจำแนก ความเสี่ยงด้านสุขภาพ
>27.5 มีความเสี่ยงสูง ที่จะพัฒนาเป็นโรคหัวใจ ,โรคความดัน,โรคหลอดเลือดสมอง ,โรคเบาหวาน
23 – 27.4 มีความเสี่ยงปานกลาง ที่จะพัฒนาเป็นโรคหัวใจ ,โรคความดัน,โรคหลอดเลือดสมอง ,โรคเบาหวาน
18.5-22.9 มีความเสี่ยงต่ำ ที่จะพัฒนาเป็นโรคหัวใจ ,โรคความดัน,โรคหลอดเลือดสมอง ,โรคเบาหวาน
<18.4 มีความเสี่ยง ที่อาจจะพัฒนาเป็นโรคขาดสารอาหาร และ โรคกระดูกพรุน

 

อ้างอิง

1.ss.mahidol.ac.th

2. กรมอนามัย

3. วิกิพีเดีย

 

3 thoughts on “คำนวน ดัชนีมวลกาย”

  1. ขอบคุณครับ ได้ความรู้มากๆเลยครับ

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.