อาหารกรด-อาหารด่าง

 อาหารกรด-อาหารด่าง

จากบทความที่แล้ว สร้าง สมดุลกรด-ด่าง เพื่อสุขภาพ ทำให้เข้าใจว่าทำไมต้องรักษาสมดุลกรด-ด่าง  และหนึ่งในปัจจัยในการรักษาสมดุลกรด-ด่างก็คือ อาหาร บทความนี้เรามารู้จักกับ อาหารกรด และ อาหารด่าง ว่ามีอะไรบ้าง


 

อาหารกรด-อาหารด่าง เรียงตาม PRAL Score

PRAL ย่อมาจาก (potential renal acid load) โดยปกติทางการแพทย์จะใช้ค่านี้  เพื่อวัดศักยภาพของสารใดสารหนึ่ง ที่เมื่อผ่านไตแล้ว จะให้ค่าความเป็นกรดมากน้อยแค่ไหน

ในที่นี้จะนำค่า PRAL มาวัดศักยภาพ ของอาหารแต่ละชนิด  ที่เมื่อร่างกายย่อย และผ่านมาถึงไตแล้ว  จะให้กรดหรือด่างมากน้อยแค่ไหน

โดยมีการให้ระดับคะแนนที่เรียกว่า PRAL Score  โดย…

PRAL + แสดงความเป็นกรด  และ PRAL – แสดงความเป็นด่าง  ดังนี้

เนื้อสัตว์ PRAL Score
เนื้อปลา 6.8-10.8
เนื้อไก่ 8.7
เนื้อหมู 7.9
เนื้อวัว 7.8

 

นม ไข่ PRAL Score
Parmesan Cheese 34.2
Processed Cheese 28.7
ชีส low fat Cheddar 26.4
ชีสแข็ง 19.2
Gouda Cheese 18.6
คอทเทจชีส 8.7
ไข่แดง 23.4
ไข่ทั้งฟอง 8.2
ไข่ขาว 1.1
โยเกิร์ตรสธรรมชาติ 1.5
โยเกิร์ตรสผลไม้ 1.2
นมวัว 1.1
นมวัวพาสเจอร์ไรส์ 0.7
ไอศครีม 0.6

 

น้ำตาล PRAL Score
ช็อคโกแลตนม 2.4
เค้ก 3.7
น้ำตาลขาว -0.1
น้ำผึ้ง -0.3
แยม -1.5

 

ผัก PRAL Score
หน่อไม้ฝรั่ง -0.4
แตงกวา -0.8
บล็อคโคลี่ -1.2
พริกไทย -1.4
เห็ด -1.4
หัวหอม -1.5
กระเทียม -1.8
ผักกาดหอม -2.5
ซูกินี่ (แตงกวาญี่ปุ่น) -2.6
น้ำมะเขือเทศ -2.8
มะเขือเทศ -3.1
ถั่วแขก -3.1
มะเขือยาว -3.4
หัวไชเท้า -3.7
มันฝรั่ง -4.0
ดอกกระหล่ำ -4.0
แครอท -4.9
เซเลอรี่ -5.2
ผักขม -14.0

 

ผลไม้,น้ำผลไม้ และถั่ว PRAL Score
ถั่วลิสง 8.3
วอลนัท 6.8
ถั่วเลนทิล 3.5
ถั่วลันเตา 1.2
น้ำองุ่น -1.0
แตงโม -1.9
น้ำแอ๊ปเปิ้ล -2.2
แอ๊ปเปิ้ล -2.2
ลูกพีช -2.4
น้ำมะนาว -2.5
ส้ม -2.7
สัปปะรด -2.7
เฮเซลนัท -2.8
น้ำส้ม -2.9
ลูกแพร -2.9
เชอร์รี่ -3.6
ลูกกีวี่ -4.1
แอ๊พพริคอท -4.8
กล้วยหอม -5.5
แบล็คเคอร์แรนท์ -6.5
ลูกเกด -21.0

 

แป้ง PRAL Score
ข้าวกล้อง 12.5
ข้าวโอ๊ต 10.7
แป้งสาลี 8.2
สปาเก็ตตี้โฮลเกรน 7.3
สปาเก็ตตี้ขาว 6.5
บะหมีเหลือง 6.4
คอนเฟล็ก 6.0
ขนมปังโฮลวีท
ผสมเมล็ดธัญพืช
3.8
ขนมปังขาว 3.7
ขนมปังโฮลวีท 1.8

 

ไขมัน PRAL Score
เนย 0.6
น้ำมันมะกอก 0
น้ำมันดอกทานตะวัน 0
มาการีน -0.5

 

เครื่องดื่ม PRAL Score
Pale Beer 0.9
น้ำอัดลม 0.4
Stout Beer -0.1
เบียร์สด -0.2
ชา -0.3
โกโก้ -0.4
ไวน์ขาว -1.2
กาแฟ -1.4
น้ำแร่ -1.8
ไวน์แดง -2.4

ข้อมูลจาก acidalkalinediet.net


อาหารกรด-อาหารด่าง เรียงตามความเข้ม

ประเภท กรดสูง กรดกลาง กรดต่ำ
ถั่ว,
ผัก
ผักดอง ถั่วขาว,
ถั่วพินโต้
ถั่วแดง
มันหวาน
ผักขมต้ม
เครื่องดื่ม เบียร์,
ชาดำ,

กาแฟ,
สุรา
โซดา,
ไวน์
โกโก้
ซีเรียล,
ธัญพืช
  บิสกิต,
พาสต้า ,
ขนมปังขาว,
ข้าวขาว
ข้าวกล้อง,
ข้าวโอ๊ต,
ขนมปังไรน์,
ขนมปังโฮลเกรน
นม,ไข่ ชีสแปรรูป ไข่,
ชีสแข็ง
เนยเหลว,
คอทเทจชีส,
ครีม,
ไอศครีม,นมวัว,
โยเกิร์ต
ผลไม้   ผลไม้กระป๋อง กล้วยหอมดิบ,
บลูเบอร์รี่สด,
แครนเบอร์รี่สด,
ลูกพลัม,
น้ำผลไม้แปรรูป
เนื้อสัตว์ เนื้อวัว,
ทูน่ากระป๋อง,
เนื้อหมู,
ปลาซาดีน,
หอย,
เนื้อลูกวัว
ไก่,ปลา,แกะ ตับ,เครื่องใน,
หอยนางรม
ถั่ว
เคี้ยวเล่น
ถั่วลิสง,
วอลนัท
เม็ดมะม่วงหิมพานต์,
พีแคน,
พิสทาชิโอ
เมล็ดฟักทอง,งา,
เมล็ดทานตะวัน
น้ำมัน     น้ำมันข้าวโพด,
น้ำมันหมู,มาการีน,
น้ำมันดอกทานตะวัน
น้ำตาล สารให้ความหวาน น้ำตาลไม่ขัดสี,
แยม,น้ำอ้อย,
ซอสมะเขือเทศ,
มายองเนส,
ช็อคโกแลตนม,
มัสตาด,
น้ำส้มสายชู
น้ำผึ้งแปรรูป,
น้ำตาลทรายขาว

 

ประเภท ด่างต่ำ ด่างกลาง  ด่างสูง
ถั่ว,ผัก แตง หน่อไม้ฝรั่ง
บีทรูท,
กะหล่ำปลี,
ดอกกะหล่ำ,
เมล็ดข้าวโพด,
มะกอก,เห็ด,
หัวหอม,
ถั่วลันเตา,
มันฝรั่ง,
ถั่วเหลือง,เต้าหู้,
หัวผักกาด
หัวบีท,
แครอท,
ถั่วแขก,
ซูกินี่,
ผักกาดหอม,
ถั่วลิมา
ต้นอ่อนข้าว
บาร์เล่ย์,
บล็อคโคลี่,

เซเลอรี่,
กระเทียม

ผักขมสด,
น้ำผัก
เครื่องดื่ม ชาขิง ชาเขียว ชาสมุนไพร,
น้ำมะนาว
ซีเรียล,
ธัญพืช
ดอกบานไม่รู้โรย,
บัควีท,
เลนทิล,ลูกเดือย,
ควินัว,
ข้าวโพดหวาน,
wild rice
นม,ไข่ นมแพะ,
ชีสนมแพะ,
ชีสนมถั่วเหลือง,
นมถั่วเหลือง,
หางนม
นมแม่
ผลไม้ อโวกาโด,
เชอร์รี่,มะพร้าว,
เกรปฟรุ๊ต,
มะนาว,มะม่วง,
ส้ม,มะละกอ,พีช,
สัปปะรด,แตงโม,
เชอร์รี่เปรี้ยว,
สตรอเบอร์รี่,
มะเขือเทศ
แอ๊ปเปิ้ล,
เบอร์รี่,
แบล็ค
เคอร์เรนท์,
อินทผลัม,
องุ่น,กี่วี่,
มะละกอ,
ลูกแพร
ลูกฟิกซ์แห้ง,
ลูกเกด
ถั่วเคี้ยวเล่น ถั่วบลาซิล,เชส,
เกาลัด,มะพร้าว
อัลมอนด์,
เฮเซลนัท
น้ำมัน น้ำมันเมล็ดแฟล็กซ์,
น้ำมันคาโนล่า,
น้ำมันมะกอก
น้ำตาล น้ำผึ้งธรรมชาติ,
น้ำตาลอ้อย
เมเปิ้ลไซรัป,
rice syrup
หญ้าหวาน


 

อาหารกรด-อาหารด่าง เรียงตามค่าpH

 

ค่า pH
หลังการย่อย
อาหาร
ด่างสูง
pH 9.0
 มะนาว,แตงโม
ด่างสูง
pH 8.5
วุ้น ,แคนตาลูป,พริกป่น,
อินทผลัมแห้ง,ลูกฟิกซ์แห้ง,
สาหร่ายเคลป์,มะนาว,มะม่วง,
เมล่อน,มะละกอ,พาสลี่,
เมล็ดองุ่น,วอเตอร์เครส,
สาหร่ายทะเล,หน่อไม้ฝรั่ง,
กีวี่,แพสชั่นฟรุ้ต,ลูกแพร,
สัปปะรด,ลูกเกด,น้ำผัก
ด่างกลาง
pH 8.0
 แอ๊ปเปิ้ลหวาน,แอปพริคอท,
หัวเท้ายายม่อม(arrowroot),
อโวกาโด,กล้วยหอมสุก,เบอร์รี่,
แครอท,เซเลอรี่,กระเทียม,
สตรอเบอร์รี่,เกรปฟรุ้ต,ฝรั่ง,
พืชสมุนไพรใบเขียว,ผักขม,
ผักกาดหอมใบเขียว,พีชหวาน,
ถั่วลันเตาสด,ฟักทอง,เกลือสมุทร
ด่างกลาง
pH 7.5
แอ๊ปเปิ้ลเปรี้ยว,ราสเบอร์รี่,
ข้าวโพดหวาน,ละมุด,หัวบีท,
ถั่วที่เป็นฝักสดสีเขียว,พริกหยวก,
บล็อคโคลี่,กะหล่ำปลี,ดอกกะหล่ำ,
ขิงสด,คะน้า,แตง
ด่างอ่อน
pH
7.25-7.0
 อัลมอนด์,เชอร์รี่,เนื้อมะพร้าวสด,แตงกวา,มะเขือยาว,
น้ำผึ้งสด,ต้นกระเทียม,เห็ด,
กระเจี้ยบเขียว,หัวไชเท้า,
เกลือสมุทร,พริก,มะเขือเทศหวาน,เกาลัด,ไข่แดงไม่สุก,
นมแพะ,มายองเนส,น้ำมันมะกอก,
งา,ถั่วเหลือง,ชีสจากถั่วเหลือง,
นมถั่วเหลือง,เต้าหู้,ยีส
เป็นกลาง
pH
7.25-6.75
โยเกิร์ต,เมล็ดฟักทอง,เนยเหลวจืด,มะพร้าวสด,มิโซะ,นมวัว,
ชาเขียว,ถั่วลิมา,เผือก,ถั่วควินัว,
กะหล่ำปลีดอง,นมแพะ,รำข้าว,
ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง,พิสทาชิโอ,
เมล็ดทานตะวัน,ลูกพลัม,น้ำผึ้ง,
มันฝรั่งรวมเปลือก,ไข่ไก่,ไข่เป็ด,
ถั่วเคี้ยวเล่นต่างๆ,เมล็ดแฟล็ก,
ลูกพลัม,ลูกพรุน,ชาสมุนไพร,
เม็ดมะม่วงหิมพานต์,ถั่วเลนทิล,
แมคาดีเมีย,มาการีน,วอลทนัท,
น้ำมัน(ยกเว้นน้ำมันมะกอก),
ไข่นกกระทา,พิสทาชิโอ,
ข้าวไรน์,บลูเบอร์รี่
กรดอ่อน
pH 6.5
กล้วยดิบ,บัควีท,ไข่สุกมาก,
ซอสมะเขือเทศ,มายองเนส,
ข้าวโอ๊ต,ถั่วลิสง,มันฝรั่งปอกเปลือก,ป๊อปคอร์น,
ขนมปัง,ข้าวกล้อง,ซีอิ๊ว
กรดกลาง
pH 6.0
ปลา,ไวน์,โยเกิร์ตรสหวาน,
น้ำผลไม้ผสมน้ำตาล,ขนมปังขาว,
ข้าวโอ๊ต,ข้าวขาว,หอย,
คอร์นเฟล็ก,จมูกข้าว,
ผลิตภัณฑ์โฮลวีท
กรดสูง
pH 5.5
 เนื้อวัว,น้ำอัดลม,โซดา,บุหรี่,
แป้งทำขนม,เนื้อแพะ,เนื้อแกะ,
เกลือสินเธาว์, ข้าวขาว,น้ำตาลทรายขาว,เบียร์,น้ำตาลแดง,เนื้อไก่,
ช็อคโกแลต,กาแฟ,คัสตาร์ด,
แยม,เยลลี่,ชาดำ,ขนมปัง
กรดสูงมาก
pH 5.0
 สารให้ความหวานแทนน้ำตาล

 

ข้อมูลจาก drjeffhealthcenter.com


 

 

Alkaline Fruits
ผัก ผลไม้ ที่เมื่อย่อยแล้วจะให้ด่าง

 

alkaline-veg
ผัก ที่เมื่อย่อยแล้วจะให้ด่าง

 


acid-food
อาหาร ที่เมื่อย่อยแล้วจะให้กรด

หมายเหตุ ;

  • อาหารกรด – อาหารด่าง ในที่นี้หมายถึง อาหารที่เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้ว ให้ผลผลิตต่อร่างกายเป็นกรดหรือด่าง
  • เพราะอาหารบางอย่าง ที่เมื่ออยู่ภายนอกร่างกาย อาจมีคุณสมบัติเป็นกรด  แต่เมื่อเข้าสู่ร่างกายถูกย่อยแล้ว กลับให้ความเป็นด่างต่อร่างกาย
  • ดังนั้นตาราง อาหารกรด-อาหารด่าง ข้างต้น จึงหมายถึง อาหารที่เมื่อถูกย่อยแล้ว

นี่คือเหตุผลที่ทำไมเราต้องกินผักเยอะๆ ก็เพื่อไปลดกรดจากอาหารพวกโปรตีน และไขมัน ร่างกายจะได้สมดุล

กลับหน้าแรก ezygodiet.com

4 thoughts on “อาหารกรด-อาหารด่าง”

  1. มีวิธีการตรวจอย่างไรครับที่อ้างว่าอาหารเมื่อเข้าสู่ร่างกายจะเป็นกรดหรือด่าง น้ำมะนาวเป็นกรดแน่ๆ ทำอย่างไรจึงกลายไปเป็นด่างได้ ไม่ใช่ดูจากบัฟเฟอร์ที่ร่างกายมีอยู่แล้วนะครับ และคงไม่ใช่จากการเอาเปลือกไปเผาด้วย เพราะเราไม่ได้กินเปลือกมะนาว

  2. ที่ว่ากินเนื้อสัตว์เช่นเนื้อวัวไม่ดีต่อร่างกสบคนที่เป็นโรคมะเร็ง จริงหรือเปล่าคะ?(อยู่ในระหว่างการให้คีโมด้วยค่ะ)

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.